โซลาร์เซลล์ครบวงจร

INSIDER SOLAR

ขาย | ติดตั้ง | บริการ

โปรสุดคุ้ม ใช้ไฟได้สะใจผลิตไฟได้เอง ➡️ช้อปเลย

โซลาร์เซลล์ช่วยลดค่าไฟ⚡ลดสูงสุด กว่า 60%

รับประกันผลิตกระแสไฟ ถึง 30 ปี คืนทุนเร็ว 4-6 ปี


จำหน่ายแผงโซลาร์เซล์ ➡️สำหรับผู้รับเหมา

ดูรายละเอียดแผงโซลาร์เซลล์เพิ่มเติม
>> คลิกเลย <<

INSIDER SOLAR

ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการติดตั้ง มีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี

ตอบโจทย์ทุกระดับ การันตีคุณภาพด้วยลูกค้ากว่า 500 หลังคา

แนะนำแพ็คเกจติดตั้งโซลาร์เซลล์

รีวิวการติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์

บริการล้างแผงโซลาร์เซลล์

➡️ เรามารู้จักระบบโซลาร์เซลล์กันก่อน ✅

ผู้นำทางเทคโนโลยีในการเริ่มต้นใช้พลังงานอัจฉริยะ

อันดับ 2 ของโลก

Hoymiles ผู้นำเทคโนโลยีระดับโลก เป็นผู้ให้บริการโซลูชันที่เชี่ยวชาญใน อินเวอร์เตอร์ระดับโมดูลและระบบจัดเก็บข้อมูล ด้วยวิสัยทัศน์แห่งอนาคต เรามุ่งมั่นที่จะเป็นผู้นำอุตสาหกรรมพลังงานอัจฉริยะผ่านเทคโนโลยีที่ทนทานและผลิตภัณฑ์ที่เชื่อถือได้ด้วยทีมวิศวกรที่เรามีกว่า 500+ ทั่วโลก ผู้เชี่ยวชาญและเครือข่ายการจัดจำหน่ายและบริการครอบคลุมอเมริกาเหนือ, อเมริกาใต้, ยุโรป เอเชีย แอฟริกาและโอเชียเนีย Hoymiles ผู้นำเทคโนโลยีและผู้เชี่ยวชาญในกว่า 70 ประเทศและภูมิภาคที่จะเข้าร่วมการเดินทางสู่พลังงานสะอาดที่แท้จริง ตอนนี้เราเป็นที่ชื่นชอบของตลาดในฐานะพันธมิตรที่น่าเชื่อถือถึงนักลงทุน ผู้ติดตั้ง และผู้บริโภคปลายทางของเรา

rapid shutdown

Rapid shutdown คือ ระบบหยุดทำงานฉุกเฉิน โดยจุดประสงค์สามารถหยุดการจ่ายกระแสไฟฟ้า DC จากแผงโซลาร์เซลล์ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้แน่ใจว่าบนหลังคาของอาคารมีสภาพที่ปลอดภัยในระหว่างเกิดเพลิง เพื่อลดความเสียหายหรือ สามารถช่วยชีวิตของผู้ที่ติดอยู่ในอาคารได้อย่างปลอดภัย

โดยวงจรโซลาร์เซลล์ที่อยู่นอกขอบเขต เมื่อมีการเปิดการทำงาน rapid shutdown จะต้องสามารถลดแรงดันไฟฟ้า DC ลงเหลือไม่เกิน 30 โวลต์ภายใน 30 วินาที และสำหรับวงจรโซลาร์เซลล์ที่อยู่ภายในขอบเขต จะต้องสามารถลดแรงดันไฟฟ้า DC ลงเหลือไม่เกิน 80 โวลต์ภายใน 30 วินาที



วิธีที่เร็วที่สุดในการลดพลังงานให้กับระบบโซลาร์เซลล์

แม้ในขณะที่ไฟฟ้าดับ พลังงานที่เหลืออยู่ก็เป็นอันตราย ที่สำคัญสำหรับทุกคนที่ทำงานกับการติดตั้งอินเวอร์เตอร์แบบสตริง ตั้งแต่ทีมบำรุงรักษาไปจนถึงนักดับเพลิง Rapid Shutdown จะลดแรงดันไฟฟ้าให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยโดยอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้าขัดข้อง มีความรวดเร็ว เรียบง่าย และเป็นไปตามมาตรฐานที่เข้มงวด NEC 2017/2020 และ SunSpec


Monocrystalline (Mono-Si)

เป็นแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ทำมาจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง เป็นผลึกซิลิคอนเชิงเดี่ยว เริ่มมาจากแท่งซิลิคอนทรงกระบอก แล้วนำมาตัดใหม่ให้เป็นสี่เหลี่ยม แล้วทำการลบมุมทั้งสี่ด้านออก ทำให้มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมมุมตัด และมีสีที่เข้มเมื่อมองแผง Monocrystalline จากด้านนอก สีแผงจะมีสีเข้มออกไปในทางสีดำมีสีที่สม่ำเสมอกัน ทำให้มีความสวยงาม ติดตั้งเมื่อต้องการเน้นประสิทธิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าให้ได้มากๆ ในพื้นที่จำกัด

ข้อดี

ข้อเสีย

ประสิทธิภาพเฉลี่ยอยู่ที่ 15-20% ราคาแพง (หากเทียบกับแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ชนิดอืน
ใช้พื้นที่ติดตั้งน้อย มีประสิทธิภาพที่สููง หากเกิดมีสิ่งสกปรกหรือถููกบดบัังแสงบางส่วน อาจทำให้วงจรหรืืออินเวอร์เตอร์ (inverter) ไหม้ได้เพราะมีแรงดันสูงเกินไป
อายุการใช้งานนานประมาณ 25 ปีขึ้นไป
ผลิิตกระแสไฟฟ้าได้มากในภาวะแสงน้อย

Polycrystalline (Poly-Si)

เป็นแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ที่ทำจากผลึกรวมของซิิลิิคอนบริสุทธิ์รวมกัับแท่งซิลิคอน แล้วก็นำมาตัดเป็นแผ่น ลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ไม่มีการตัดมุมตัวแผงและมีสีออกเป็นสีน้ำเงิิน หากมองจากภายนอกจะเห็็นเป็นสีที่แผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ไม่สม่ำเสมอกัน จากกระบวนการผลิต ติดตั้งเมื่อต้องการจำกัดเรื่องต้นทุน

ข้อดี

ข้อเสีย

ราคาถูก ประสิทธิภาพเฉลี่ย 13-16%
ประสิทธิภาพในพื้นที่ที่มีอุุณหภูมิสูงดีกว่าชนิด Monocrystalline ใช้เนื้อที่ติดตั้งมากกว่า (หากต้องการประสิทธิ ภาพเท่ากับชนิด Monocrystalline)
สีีของแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ไม่สวย

Half Cell

แผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) แบบ Half Cell หรือ Half Cut จะใช้วิธีลดกำลังผลิตไฟฟ้าของแต่ละเซลล์ลงครึ่งนึง แต่จะเพิ่มจำนวนเซลล์ให้มากขึ้นเป็น 2 เท่า และต่อแยกกันเป็น 2 ชุด เสมือนการนำแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) 2 แผงมาขนานกันนั่นเอง ข้อดี : เมื่อเซลล์ถูกเงาบัง ความสูญเสียที่เกิดขึ้นก็จะน้อยลงครึ่งนึง เมื่อเทียบกับแผงแบบปกติ


Tier1, 2, 3 มาตรฐานและความน่าเชื่อถือ

Tier1

Tier2

Tier3

เป็นโรงงานที่มีการควบคุมการผลิตแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) ทุกขั้นตอนตั้งแต่วัตถุดิบจนเป็นแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ไม่ได้มีหรือมีเพียงเล็กน้อย สำ หรับการลงทุนด้าน R&D ไม่มีการลงทุนด้าน R&D
เป็นโรงงานที่มีการลงทุุนด้าน R&D อย่างเต็มที่และตลอดเวลา มีกระบวนการผลิตระบบอัตโนมัติขั้นสูงเพียงบางส่วน เป็นโรงงานประกอบแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) เท่านั้น (ไม่ได้มีการผลิตวัตถุดิบหรือซิลิคอนร่วมด้วย)
มีกระบวนการผลิตระบบอัตโนมัติขั้นสููงตลอดทั้งกระบวนการ เป็นโรงงานที่ผลิตแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) มาแล้วตั้งแต่ 2 – 5 ปี ใช้คนในการประกอบเป็นหลัก
เป็นโรงงานที่ผลิตแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี เป็นโรงงานประกอบตั้งแต่ 1-2 ปี

รายละเอียดเพิ่มเติมที่ควรรู้ในเรื่องของ Tier 1 มีดังนี้

  • แผงโซลาร์เซลล์ Tier-1 เป็นเพียงผู้ผลิตโมดูล Tier-1 เท่านั้นที่มีอยู่ตามรายงาน Bloomberg New Energy Finance หรือ PV Moduletech คือรายงานการจัดอันดับความสามารถในการธนาคารรายไตรมาส
  • ผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ที่ไม่อยู่ใน Tier 1 ก็ไม่ใช่ว่าจะผลิตสินค้าได้ไม่ดี เพราะผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ที่เป็นนวัตกรรมใหม่หรือเป็นที่ยอมรับจากทั่วโลกบางรายก็ไม่ได้อยู่ในอันดับการแบ่งอันดับของแผงโซลาร์เซลล์ Tier 1 นั้นเลย เช่น Panasonic, Solaria, Winaico, Solarwatt, Meyer Burger, Peimar, Tindo, Aleo และ Tesla ที่มีชื่อเสียงในอุตสาหกรรมที่โดดเด่นก็ไม่มีใครอยู่ในอันดับ Tier 1
  • คำว่า Tier 1 ไม่ใช่เครื่องวัดคุณภาพของแผงโซลาร์เซลล์ คำว่า Tier 1 เป็นการจัดลำดับของบริษัทที่เป็นผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ ที่เป็นโรงงานที่มีการลงทุนทางด้านการวิจัยและพัฒนาหรือ R&D (Research & Development)อย่างเต็็มที่และตลอดเวลา ซึ่งแต่ละผู้ผลิตก็จะมีแผงโซลาร์เซลล์หลากหลายระดับคุณภาพ ฉะนั้นการเลือกแผงโซลาร์เซลล์จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับคำว่า Tier 1 เท่านั้น
  • Tier 1 ไม่ใช่สถานะการรับรองอันดับของผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์นั้นตลอดไป เพราะการประเมินความสามารถของผู้ผลิต Tier 1 นั้นประเมินจากสถานะการเงินของบริษัทผู้ผลิต สถานะ Tier 1 จึงเปลี่ยนไปตามอันดับ

วิธีดู Spec ที่สำคัญของ แผงโซลาร์เซลล์

คุณสมบัติต่างๆ ทางไฟฟ้าตามสเปกของแผงโซลาร์เซลล์ ที่จำเป็นเพราะแต่ละค่าจะเชื่อมโยงไปในเรื่องของการออกแบบ

STC และ NOCT คืืออะไร?

ค่าต่างๆที่อยู่ใน Datasheet คือค่าจากการทดลองในเงื่อนไขของ STC และ NOCT **ซึ่งเราจะใช้ค่า STC เป็นหลักในการดูสเป็กที่สำคัญของแผงโซลาร์เซลล์

STC หรือ (Standard Test Condition) มีค่าที่กำหนดเงื่อนไขดังนี้  NOCT (Nominal Operating Cell Temperature) มีค่าที่กำหนดเงื่อนไขดังนี้
1.ความเข้มแสง (Irradiance) คือ ค่าความเข้มแสงกำหนดไว้ที่ 1000 W/sq.m. 1.ความเข้มแสง (Irradiance) คือ ค่าความเข้มแสงกำหนดไว้ที่ 800 W/sq.m.
2.อุณหภูมิ คือ อุณหภูมิของแผงโซลาร์เซลล์ กำหนดไว้ที่ 25 องศาเซลเซียส 2.อุณหภูมิ คือ อุณหภูมิของแผงโซลาร์เซลล์ กำหนดไว้ที่ 20 องศาเซลเซียส
3.ค่ามวลอากาศ (Air Mass) กำหนดไว้ที่ 1.5 3.ค่ามวลอากาศ (Air Mass) กำหนดไว้ที่ 1.5
4.ความเร็วลม ไม่มีกำหนด 4.ความเร็วลม 1เมตร ต่อ 1 วินาที

Pmax : Maximum Power

เป็นค่าที่แสดงถึงขนาดกำลังผลิตไฟฟ้า สูงสุด ของแผง โดยเป็นตัวเลขที่วัดค่าได้จากห้องทดลอง


Vmp : Maximum Power Voltage

เป็นค่าแรงดันสูงสุดที่แผงสามารถผลิตได้ โดยเป็นค่าแรงดันใช้งานจริงในขณะที่แผงเชื่อมต่อกับ Inverter อยู่


Imp : Maximum Power Current

เป็นค่ากระแสสูงสุดที่แผงโซลาร์เซลล์ผลิตได้ โดยเป็นค่ากระแสใช้งานจริงในขณะที่แผงเชื่อมต่อกับ Inverter อยู่


Voc : Open Circuit Voltage

เป็นค่าแรงดันของแผงที่ถูกวัดค่าในขณะที่แผงไม่ได้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ใด ๆ ซึ่งโดยปกติเวลาเลือกใช้ Inverterจะต้องดูค่าตัวเลขนี้ เพื่อดูว่าเมื่อนำ String หรือชุดแผงโซลาร์เซลล์มาอนุกรมกัน ผลรวมของแรงดันจะต้องไม่เกินค่าสูงสุดที่ Inverter รับได้ หรือไม่เกิน Max. Input Voltage ของ Inverter


Isc : Short Circuit Current

เป็นค่าที่แสดงถึงขนาดกำลังผลิตไฟฟ้า สูงสุด ของแผง โดยเป็นตัวเลขที่วัดค่าได้จากห้องทดลอง


หมายเหตุ : การติดตั้งโซลาร์เซลล์ในประเทศไทยการผลิตพลังงานไฟฟ้าจะอยู่ที่ 70-80% ของแผง เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันออกไปจึงทำให้เกิดการสูญเสียในระบบอย่างแน่นอน

การสูญเสียในระบบ(Loss in the system)

การสูญเสียในระบบหมายถึงการสูญเสียพลังงานหรือประสิทธิภาพในระบบที่ใช้งาน เป็นผลมาจากหลายปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ซึ่งอาจมีผลต่อความสามารถของระบบในการทำงานตามประสิทธิภาพของระบบที่ออกแบบไว้ ด้วย 3 สาเหตุหลัก

  • ฝุ่นและสิ่งสกปรกที่อยู่บนแผงโซลาร์เซลล์ทำให้พลังงานลดลง คือ การสูญเสียพลังงานในการถ่ายโอน: การถ่ายโอนพลังงานผ่านสายไฟฟ้าสามารถสูญเสียได้เมื่อมีการแปรผันไฟฟ้าหรือการต้านทานในสายไฟฟ้า ทำให้พลังงานถูกสูญเสียและไม่สามารถใช้งานได้ตามประสิทธิภาพ ฝุ่นและสิ่งสกปรกบนแผงโซลาร์เซลล์จะทำให้พลังงานที่ได้ลดลงได้ เพราะฝุ่นและสิ่งสกปรกที่อยู่บนแผงโซลาร์เซลล์จะทำให้แสงที่เข้ามาตกเป็นรังสีเลี้ยง (diffused radiation) แทนที่จะเป็นแสงตรงๆ (direct radiation) ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียพลังงานได้ นอกจากนี้ การสะสมฝุ่นและสิ่งสกปรกบนแผงโซลาร์เซลล์ยังสามารถลดประสิทธิภาพของการแปลงพลังงานได้อีกด้วย ดังนั้น การทำความสะอาดแผงโซลาร์เซลล์เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยลดการสูญเสียพลังงานและเพิ่มประสิทธิภาพของระบบโซลาร์เซลล์ได้มากยิ่งขึ้น


  • ประสิทธิภาพของอินเวอร์เตอร์มีผลต่อพลังงานที่ผลิตได้ คือ ประสิทธิภาพของอินเวอร์เตอร์ (inverter) จะมีผลต่อพลังงานที่ผลิตได้จากแผงโซลาร์เซลล์ โดยอินเวอร์เตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แปลงไฟฟ้าจากแนวตั้งของแผงโซลาร์เซลล์ (DC) เป็นแนวนอน (AC) เพื่อให้สามารถใช้ได้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปในบ้านหรืออุตสาหกรรมได้ อย่างไรก็ตาม การแปลงไฟฟ้าด้วยอินเวอร์เตอร์จะมีการสูญเสียพลังงานไปบ้าง เนื่องจากอินเวอร์เตอร์ต้องใช้พลังงานในการทำงานและมีความไม่สม่ำเสมอในการแปลงไฟฟ้า ดังนั้น เลือกใช้อินเวอร์เตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงจะช่วยให้มีการสูญเสียพลังงานน้อยลง และผลิตพลังงานได้มากขึ้น ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการใช้งานแผงโซลาร์เซลล์อย่างมากยิ่งขึ้น


  • อุณหภูมิที่สูงขึ้นที่แผงโซลาร์เซลล์จะมีผลทำให้พลังงานลดลง คือ อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นจะมีผลต่อประสิทธิภาพของแผงโซลาร์เซลล์ โดยทั่วไปแล้ว เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น พลังงานที่แผงโซลาร์เซลล์สามารถสร้างได้จะลดลง โดยอุณหภูมิสูงขึ้นจะทำให้โมเลกุลของสารที่ใช้ในแผงโซลาร์เซลล์เคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียพลังงานและเกิดการไหลกระแสไฟฟ้าที่ไม่สม่ำเสมอ นอกจากนี้ อุณหภูมิสูงก็สามารถทำให้เกิดการชะลอการสร้างไฟฟ้าจากแผงโซลาร์เซลล์ได้ ซึ่งทั้งหมดนี้จะส่งผลต่อประสิทธิภาพของแผงโซลาร์เซลล์โดยลดลงจากปกติ ดังนั้นการควบคุมอุณหภูมิเป็นสิ่งสำคัญในการใช้งานแผงโซลาร์เซลล์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดโดยตลอดเวลา

ชนิดของอินเวอร์เตอร์ (Inverter)

หน้าที่ของอินเวอร์เตอร์ (inverter) คือแปลงไฟฟ้ากระแสตรง(DC) ที่มาจากแผงโซล่าเซลล์ (solar cell) ให้เป็นไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) ซึ่งเป็นประเภทของไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเรือนทั่วๆ ไป โดยปกติแล้วอินเวอร์เตอร์ (inverter) ที่ใช้งานกับโซล่าเซลล์ (solar cell) จะแบ่งเป็น 3 ประเภทหลักๆ ดังนี้

ประเภทของ On-grid Inverter จะมี 3 ประเภท ดังนี้

Central Inverter

อินเวอร์เตอร์ (inverter) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เพราะเครื่องอินเวอร์เตอร์ (inverter) สามารถรองรับ PV Panels ได้เป็นจำนวนมาก สามารถรองรับได้ทั้งโครงการ (ขนาดใหญ่) สามารถใช้อินเวอร์เตอร์ (inverter) เพียงเครื่องเดียวได้

ข้อดี

ข้อเสีย

ง่ายต่อการออกแบบเพราะมีตัวเดียว ยากต่อการขยายระบบในอนาคต
ราคาต่อวัตต์ถูกกว่าชนิดอื่น ถ้า inverter มีีปัญหาจะทำให้ผลิตไฟฟ้าไม่ได้ทั้งระบบ
มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก ทำให้หาพื้นที่ติดตั้งค่อนข้างยาก
String Inverter

อินเวอร์เตอร์ (inverter) ที่มีหลากหลายขนาดตามแต่การออกแบบซึ่งเหมาะกับการติดตั้งแบบ Rooftop มากที่สุดในปัจจุบัน

ข้อดี

ข้อเสีย

ขนาดไม่ใหญ่เกินไป หาพื้นที่ติดตั้งง่าย ราคาต่อวัตต์สูงกว่าแบบ Central inverter
ให้กำลังผลิตโดยรวมดีกว่า การดูแลรักษามากกว่า เพราะบางโครงการอาจมีหลายตัว
ขยายระบบในอนาคตได้ง่าย
ถ้าเกิดความเสียหายใน inverter ตัวใดตัวหนึ่ง ตัวอื่นๆก็ยังทำงานได้อยู่
Micro Inverter

อินเวอร์เตอร์ (micro inverter) ที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยจะติดตั้ง 1 ตัวต่อ 1 แผงซึ่งก็จะทำให้ไฟฟ้าที่ออกจากแผงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) นิยมเลือกใช้กับระบบที่มีกำลังการผลิตไม่มาก

ข้อดี

ข้อเสีย

ง่ายต่อการออกแบบเพราะมีตัวเดียว ราคาต่อวัตต์สููง
มีความสูญเสียในระบบน้อยที่สุด การดู แลรักษามากกว่า เพราะต้องใช้จำนวนมาก (1ตััว ต่่อ 4 แผง)
ขยายระบบในอนาคตได้ง่าย
ไม่เปลืองสายไฟด้าน DC
อินเวอร์เตอร์ (inverter) ที่ใช้งานกับโซลาร์เซลล์ (solar cell) มี 3 ประเภท

1.ออนกริด อินเวอร์เตอร์ (On-grid Inverter)

อินเวอร์เตอร์ (inverter) ชนิดนี้มีไว้สำหรับเชื่อมต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าภายในบ้าน โดยต้องทำงานร่วมกับไฟฟ้าที่มาจากการไฟฟ้าเสมอ หรืออาจจะใช้เพื่อผลิตไฟฟ้าแล้วส่งไปขายให้กับการไฟฟ้าซึ่งคำว่า Grid นั้นจะหมายถึึง Power Grid คือ ระบบจ่ายไฟของทางการไฟฟ้า


นอกจากนี้้กรณีที่ไฟฟ้าดับหรือไฟตก ไฟเกินกว่าระดับที่ตั้งไว้อินเวอร์เตอร์ (inverter) แบบนี้จะต้องตัดไม่ให้มีการจ่ายไฟออกไปสู่ระบบสายส่งของทางการไฟฟ้า เพื่อไม่ให้มีไฟฟ้าไหลออกไปทำอันตรายต่อเจ้าหน้าที่ที่มาปฏิบััติงาน ของทางการไฟฟ้า


2.ออฟกริด อินเวอร์เตอร์ (Off-grid Inverter)

อินเวอร์เตอร์ (inverter) นี้จะได้รับไฟกระแสตรงมาจากแบตเตอรี่ (Battery) ไม่ควรนำโซลาร์เซลล์ (solar cell) มาต่อโดยตรง การใช้งานระบบนี้จะต้องนำแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) มาชาร์จพลังงานลงสู่แบตเตอรรี่ก่อน ซึ่งก็จะต้องมีวงจรการควบคุมการชาร์จแบตเตอรี่ (Charge Controller) ซึ่งก็อาจจะแตกต่างกันไปตามแบตเตอรี่ที่ใช้ด้วยแม้ว่าอินเวอร์เตอร์ (inverter) ชนิดนี้จะไม่ต้องเชื่อมต่อกับระบบจ่ายไฟของการไฟฟ้า จึงไม่ถูกควบคุมว่าต้องใช้ยีห้อที่การไฟฟ้าอนุมัติแต่ก็ควรใช้อุปกรณ์ที่มีมาตรฐาน เพื่อความปลอดภัย


3.ไฮบริด อินเวอร์เตอร์ (Hybrid Inverter)

ไฮบริดอินเวอร์เตอร์เป็นระบบระหว่าง On-grid และระบบ Off-grid Inverter เพราะสามารถใช้งานเพื่อประหยัดพลังงานได้ในตอนกลางวัน และยังสามารถสำรองไฟเอาไว้ใช้ในเวลากลางคืน สามารถมีไฟฟ้าจากระบบโซล่าได้ตลอด 24 ชั่วโมง

อุปกรณ์มาตรฐาน ตามประเภทหลังคา

ตรวจเช็คการผลิตไฟฟ้า แบบตลอดเวลา

ตรวจเช็คการผลิตไฟฟ้า แบบตลอดเวลา

➡️ ผลงานการติดตั้งโซลาร์เซลล์ โดย Insider Solar ลดค่าไฟ คุ้มค่า และปลอดภัย ✅

ผลงานการติดตั้งโซลาร์เซลล์ บนหลังคาขนาดเล็ก 2kW - 6kW ประหยัดค่าไฟได้ถึงมากถึง 60%

ผลงานการติดตั้งโซลาร์เซลล์ บนหลังคาขนาดกลาง 8kW - 15kW ประหยัดค่าไฟได้ถึงมากถึง 60%

ผลงานการติดตั้งโซลาร์เซลล์ บนหลังคาขนาดใหญ่ 20kW ขึ้นไป ประหยัดค่าไฟได้ถึงมากถึง 60%

➡️ บริษัทติดตั้งโซลาร์เซลล์ (solar cell) เรามีทีมงาน Onside ตลอด 2 ปี ✅

สินค้า solar cell โซลาร์เซลล์แบรนด์ดังระดับโลก ตอบโจทย์ทุกไลฟ์สไตล์ของผู้ใช้ ✅

มาตรฐานรับรองผลิตภัณฑ์ระบบโซลาร์เซลล์ solar cell ✅

เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า Micro inverter Enphase (enphase)(micro inverter)

➡️ สาระน่ารู้ และข่าวสาร ✅

โซลาร์เซลล์ครบวงจร

ขาย | ติดตั้ง | บริการ

โซลาร์เซลล์ครบวงจร

ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการติดตั้ง มีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี

ตอบโจทย์ทุกระดับ การันตีคุณภาพ
ด้วยลูกค้ากว่า 500 หลังคา

โปรสุดคุ้ม..ใช้ไฟได้สะใจผลิตไฟได้เอง ➡️ ช้อปเลย

จำหน่ายแผงโซลาร์เซล์ ➡️ สำหรับผู้รับเหมา

ดูรายละเอียดแผงโซลาร์เซลล์เพิ่มเติม
>> คลิกเลย <<

แนะนำแพ็คเกจติดตั้งโซลาร์เซลล์

รีวิวการติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์

ใช้พื้นที่หลังคาบ้าน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ประหยัดค่าไฟสูงสุด
 60%

บริษัทติดตั้งโซลาร์เซลล์ solar cell เรามีทีมงาน Onside ตลอด 2 ปี ✅

บริการหลังการขาย ของเรา Insider Solar ✅ มีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี

บริการล้างแผงโซลาร์เซลล์

อุปกรณ์มาตรฐาน ติดตั้งตามประเภทหลังคา

ตรวจเช็คการผลิตไฟฟ้า แบบตลอดเวลา สำหรับ Hoymiles

ตรวจเช็คการผลิตไฟฟ้า แบบตลอดเวลา สำหรับ Huawei

ผลงานการติดตั้งโซลาร์เซลล์ โดย Insider Solar ✅ ลดค่าไฟ คุ้มค่า และปลอดภัย

ผลงานการติดตั้งโซลาร์เซลล์ บนหลังคา งานติดตั้งขนาดเล็ก 2kW - 6kW ประหยัดค่าไฟได้ถึงมากถึง 60%

ผลงานการติดตั้งโซลาร์เซลล์ บนหลังคา งานติดตั้งขนาดกลาง 8kW - 15kW ประหยัดค่าไฟได้ถึงมากถึง 60%

ผลงานการติดตั้งโซลาร์เซลล์ บนหลังคา งานติดตั้งขนาดใหญ่ 20kW ขึ้นไป ประหยัดค่าไฟได้ถึงมากถึง 60%

ผู้นำทางเทคโนโลยีในการเริ่มต้นใช้พลังงานอัจฉริยะ

อันดับ 2 ของโลก

Hoymiles ผู้นำเทคโนโลยีระดับโลก เป็นผู้ให้บริการโซลูชันที่เชี่ยวชาญใน อินเวอร์เตอร์ระดับโมดูลและระบบจัดเก็บข้อมูล ด้วยวิสัยทัศน์แห่งอนาคต เรามุ่งมั่นที่จะเป็นผู้นำอุตสาหกรรมพลังงานอัจฉริยะผ่านเทคโนโลยีที่ทนทานและผลิตภัณฑ์ที่เชื่อถือได้ด้วยทีมวิศวกรที่เรามีกว่า 500+ ทั่วโลก ผู้เชี่ยวชาญและเครือข่ายการจัดจำหน่ายและบริการครอบคลุมอเมริกาเหนือ, อเมริกาใต้, ยุโรป เอเชีย แอฟริกาและโอเชียเนีย Hoymiles ผู้นำเทคโนโลยีและผู้เชี่ยวชาญในกว่า 70 ประเทศและภูมิภาคที่จะเข้าร่วมการเดินทางสู่พลังงานสะอาดที่แท้จริง ตอนนี้เราเป็นที่ชื่นชอบของตลาดในฐานะพันธมิตรที่น่าเชื่อถือถึงนักลงทุน ผู้ติดตั้ง และผู้บริโภคปลายทางของเรา

rapid shutdown

Rapid shutdown คือ ระบบหยุดทำงานฉุกเฉิน โดยจุดประสงค์สามารถหยุดการจ่ายกระแสไฟฟ้า DC จากแผงโซลาร์เซลล์ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้แน่ใจว่าบนหลังคาของอาคารมีสภาพที่ปลอดภัยในระหว่างเกิดเพลิง เพื่อลดความเสียหายหรือ สามารถช่วยชีวิตของผู้ที่ติดอยู่ในอาคารได้อย่างปลอดภัย

โดยวงจรโซลาร์เซลล์ที่อยู่นอกขอบเขต เมื่อมีการเปิดการทำงาน rapid shutdown จะต้องสามารถลดแรงดันไฟฟ้า DC ลงเหลือไม่เกิน 30 โวลต์ภายใน 30 วินาที และสำหรับวงจรโซลาร์เซลล์ที่อยู่ภายในขอบเขต จะต้องสามารถลดแรงดันไฟฟ้า DC ลงเหลือไม่เกิน 80 โวลต์ภายใน 30 วินาที



วิธีที่เร็วที่สุดในการลดพลังงานให้กับระบบโซลาร์เซลล์

แม้ในขณะที่ไฟฟ้าดับ พลังงานที่เหลืออยู่ก็เป็นอันตราย ที่สำคัญสำหรับทุกคนที่ทำงานกับการติดตั้งอินเวอร์เตอร์แบบสตริง ตั้งแต่ทีมบำรุงรักษาไปจนถึงนักดับเพลิง Rapid Shutdown จะลดแรงดันไฟฟ้าให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยโดยอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้าขัดข้อง มีความรวดเร็ว เรียบง่าย และเป็นไปตามมาตรฐานที่เข้มงวด NEC 2017/2020 และ SunSpec


ชนิดของแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell)
Monocrystalline (Mono-Si)

เป็นแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ทำมาจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง เป็นผลึกซิลิคอนเชิงเดี่ยว เริ่มมาจากแท่งซิลิคอนทรงกระบอก แล้วนำมาตัดใหม่ให้เป็นสี่เหลี่ยม แล้วทำการลบมุมทั้งสี่ด้านออก ทำให้มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมมุมตัด และมีสีที่เข้มเมื่อมองแผง Monocrystalline จากด้านนอก สีแผงจะมีสีเข้มออกไปในทางสีดำมีสีที่สม่ำเสมอกัน ทำให้มีความสวยงาม ติดตั้งเมื่อต้องการเน้นประสิทธิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าให้ได้มากๆ ในพื้นที่จำกัด

ข้อดี

ข้อเสีย

ประสิทธิภาพเฉลี่ยอยู่ที่ 15-20% ราคาแพง (หากเทียบกับแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ชนิดอืน
ใช้พื้นที่ติดตั้งน้อย มีประสิทธิภาพที่สููง หากเกิดมีสิ่งสกปรกหรือถููกบดบัังแสงบางส่วน อาจทำให้วงจรหรืืออินเวอร์เตอร์ (inverter) ไหม้ได้เพราะมีแรงดันสูงเกินไป
อายุการใช้งานนานประมาณ 25 ปีขึ้นไป
ผลิิตกระแสไฟฟ้าได้มากในภาวะแสงน้อย

Polycrystalline (Poly-Si)

เป็นแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ที่ทำจากผลึกรวมของซิิลิิคอนบริสุทธิ์รวมกัับแท่งซิลิคอน แล้วก็นำมาตัดเป็นแผ่น ลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ไม่มีการตัดมุมตัวแผงและมีสีออกเป็นสีน้ำเงิิน หากมองจากภายนอกจะเห็็นเป็นสีที่แผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ไม่สม่ำเสมอกัน จากกระบวนการผลิต ติดตั้งเมื่อต้องการจำกัดเรื่องต้นทุน

ข้อดี

ข้อเสีย

ราคาถูก ประสิทธิภาพเฉลี่ย 13-16%
ประสิทธิภาพในพื้นที่ที่มีอุุณหภูมิสูงดีกว่าชนิด Monocrystalline ใช้เนื้อที่ติดตั้งมากกว่า (หากต้องการประสิทธิ ภาพเท่ากับชนิด Monocrystalline)
สีีของแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ไม่สวย

Half Cell

แผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) แบบ Half Cell หรือ Half Cut จะใช้วิธีลดกำลังผลิตไฟฟ้าของแต่ละเซลล์ลงครึ่งนึง แต่จะเพิ่มจำนวนเซลล์ให้มากขึ้นเป็น 2 เท่า และต่อแยกกันเป็น 2 ชุด เสมือนการนำแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) 2 แผงมาขนานกันนั่นเอง ข้อดี : เมื่อเซลล์ถูกเงาบัง ความสูญเสียที่เกิดขึ้นก็จะน้อยลงครึ่งนึง เมื่อเทียบกับแผงแบบปกติ


Tier1, 2, 3 มาตรฐานและความน่าเชื่อถือ

Tier1

Tier2

Tier3

เป็นโรงงานที่มีการควบคุมการผลิตแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) ทุกขั้นตอนตั้งแต่วัตถุดิบจนเป็นแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ไม่ได้มีหรือมีเพียงเล็กน้อย สำ หรับการลงทุนด้าน R&D ไม่มีการลงทุนด้าน R&D
เป็นโรงงานที่มีการลงทุุนด้าน R&D อย่างเต็็มที่และตลอดเวลา มีกระบวนการผลิตระบบอัตโนมัติขั้นสูงเพียงบางส่วน เป็นโรงงานประกอบแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) เท่านั้น (ไม่ได้มีการผลิตวัตถุดิบหรือซิลิคอนร่วมด้วย)
มีกระบวนการผลิตระบบอัตโนมัติขั้นสููงตลอดทั้งกระบวนการ เป็นโรงงานที่ผลิตแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) มาแล้วตั้งแต่ 2 – 5 ปี ใช้คนในการประกอบเป็นหลัก
เป็นโรงงานที่ผลิตแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี เป็นโรงงานประกอบตั้งแต่ 1-2 ปี

รายละเอียดเพิ่มเติมที่ควรรู้ในเรื่องของ Tier 1 มีดังนี้

  • แผงโซลาร์เซลล์ Tier-1 เป็นเพียงผู้ผลิตโมดูล Tier-1 เท่านั้นที่มีอยู่ตามรายงาน Bloomberg New Energy Finance หรือ PV Moduletech คือรายงานการจัดอันดับความสามารถในการธนาคารรายไตรมาส
  • ผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ที่ไม่อยู่ใน Tier 1 ก็ไม่ใช่ว่าจะผลิตสินค้าได้ไม่ดี เพราะผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ที่เป็นนวัตกรรมใหม่หรือเป็นที่ยอมรับจากทั่วโลกบางรายก็ไม่ได้อยู่ในอันดับการแบ่งอันดับของแผงโซลาร์เซลล์ Tier 1 นั้นเลย เช่น Panasonic, Solaria, Winaico, Solarwatt, Meyer Burger, Peimar, Tindo, Aleo และ Tesla ที่มีชื่อเสียงในอุตสาหกรรมที่โดดเด่นก็ไม่มีใครอยู่ในอันดับ Tier 1
  • คำว่า Tier 1 ไม่ใช่เครื่องวัดคุณภาพของแผงโซลาร์เซลล์ คำว่า Tier 1 เป็นการจัดลำดับของบริษัทที่เป็นผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ ที่เป็นโรงงานที่มีการลงทุนทางด้านการวิจัยและพัฒนาหรือ R&D (Research & Development)อย่างเต็็มที่และตลอดเวลา ซึ่งแต่ละผู้ผลิตก็จะมีแผงโซลาร์เซลล์หลากหลายระดับคุณภาพ ฉะนั้นการเลือกแผงโซลาร์เซลล์จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับคำว่า Tier 1 เท่านั้น
  • Tier 1 ไม่ใช่สถานะการรับรองอันดับของผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์นั้นตลอดไป เพราะการประเมินความสามารถของผู้ผลิต Tier 1 นั้นประเมินจากสถานะการเงินของบริษัทผู้ผลิต สถานะ Tier 1 จึงเปลี่ยนไปตามอันดับ

วิธีดู Spec ที่สำคัญของ แผงโซลาร์เซลล์

คุณสมบัติต่างๆ ทางไฟฟ้าตามสเปกของแผงโซลาร์เซลล์ ที่จำเป็นเพราะแต่ละค่าจะเชื่อมโยงไปในเรื่องของการออกแบบ

STC และ NOCT คืืออะไร?

ค่าต่างๆที่อยู่ใน Datasheet คือค่าจากการทดลองในเงื่อนไขของ STC และ NOCT **ซึ่งเราจะใช้ค่า STC เป็นหลักในการดูสเป็กที่สำคัญของแผงโซลาร์เซลล์

STC หรือ (Standard Test Condition) มีค่าที่กำหนดเงื่อนไขดังนี้  NOCT (Nominal Operating Cell Temperature) มีค่าที่กำหนดเงื่อนไขดังนี้
1.ความเข้มแสง (Irradiance) คือ ค่าความเข้มแสงกำหนดไว้ที่ 1000 W/sq.m. 1.ความเข้มแสง (Irradiance) คือ ค่าความเข้มแสงกำหนดไว้ที่ 800 W/sq.m.
2.อุณหภูมิ คือ อุณหภูมิของแผงโซล่าเซลล์ กำหนดไว้ที่ 25 องศาเซลเซียส 2.อุณหภูมิ คือ อุณหภูมิของแผงโซลาร์เซลล์ กำหนดไว้ที่ 20 องศาเซลเซียส
3.ค่ามวลอากาศ (Air Mass) กำหนดไว้ที่ 1.5 3.ค่ามวลอากาศ (Air Mass) กำหนดไว้ที่ 1.5
4.ความเร็วลม ไม่มีกำหนด 4.ความเร็วลม 1เมตร ต่อ 1 วินาที

Pmax : Maximum Power

เป็นค่าที่แสดงถึงขนาดกำลังผลิตไฟฟ้า สูงสุด ของแผง โดยเป็นตัวเลขที่วัดค่าได้จากห้องทดลอง


Vmp : Maximum Power Voltage

เป็นค่าแรงดันสูงสุดที่แผงสามารถผลิตได้ โดยเป็นค่าแรงดันใช้งานจริงในขณะที่แผงเชื่อมต่อกับ Inverter อยู่


Imp : Maximum Power Current

เป็นค่ากระแสสูงสุดที่แผงโซลาร์เซลล์ผลิตได้ โดยเป็นค่ากระแสใช้งานจริงในขณะที่แผงเชื่อมต่อกับ Inverter อยู่


Voc : Open Circuit Voltage

เป็นค่าแรงดันของแผงที่ถูกวัดค่าในขณะที่แผงไม่ได้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ใด ๆ ซึ่งโดยปกติเวลาเลือกใช้ Inverterจะต้องดูค่าตัวเลขนี้ เพื่อดูว่าเมื่อนำ String หรือชุดแผงโซลาร์เซลล์มาอนุกรมกัน ผลรวมของแรงดันจะต้องไม่เกินค่าสูงสุดที่ Inverter รับได้ หรือไม่เกิน Max. Input Voltage ของ Inverter


Isc : Short Circuit Current

เป็นค่าที่แสดงถึงขนาดกำลังผลิตไฟฟ้า สูงสุด ของแผง โดยเป็นตัวเลขที่วัดค่าได้จากห้องทดลอง


หมายเหตุ : การติดตั้งโซลาร์เซลล์ในประเทศไทยการผลิตพลังงานไฟฟ้าจะอยู่ที่ 70-80% ของแผง เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันออกไปจึงทำให้เกิดการสูญเสียในระบบอย่างแน่นอน

การสูญเสียในระบบ(Loss in the system)

การสูญเสียในระบบหมายถึงการสูญเสียพลังงานหรือประสิทธิภาพในระบบที่ใช้งาน เป็นผลมาจากหลายปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ซึ่งอาจมีผลต่อความสามารถของระบบในการทำงานตามประสิทธิภาพของระบบที่ออกแบบไว้ ด้วย 3 สาเหตุหลัก

  • ฝุ่นและสิ่งสกปรกที่อยู่บนแผงโซลาร์เซลล์ทำให้พลังงานลดลง คือ การสูญเสียพลังงานในการถ่ายโอน: การถ่ายโอนพลังงานผ่านสายไฟฟ้าสามารถสูญเสียได้เมื่อมีการแปรผันไฟฟ้าหรือการต้านทานในสายไฟฟ้า ทำให้พลังงานถูกสูญเสียและไม่สามารถใช้งานได้ตามประสิทธิภาพ ฝุ่นและสิ่งสกปรกบนแผงโซลาร์เซลล์จะทำให้พลังงานที่ได้ลดลงได้ เพราะฝุ่นและสิ่งสกปรกที่อยู่บนแผงโซลาร์เซลล์จะทำให้แสงที่เข้ามาตกเป็นรังสีเลี้ยง (diffused radiation) แทนที่จะเป็นแสงตรงๆ (direct radiation) ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียพลังงานได้ นอกจากนี้ การสะสมฝุ่นและสิ่งสกปรกบนแผงโซลาร์เซลล์ยังสามารถลดประสิทธิภาพของการแปลงพลังงานได้อีกด้วย ดังนั้น การทำความสะอาดแผงโซลาร์เซลล์เป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยลดการสูญเสียพลังงานและเพิ่มประสิทธิภาพของระบบโซลาร์เซลล์ได้มากยิ่งขึ้น


  • ประสิทธิภาพของอินเวอร์เตอร์มีผลต่อพลังงานที่ผลิตได้ คือ ประสิทธิภาพของอินเวอร์เตอร์ (inverter) จะมีผลต่อพลังงานที่ผลิตได้จากแผงโซลาร์เซลล์ โดยอินเวอร์เตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แปลงไฟฟ้าจากแนวตั้งของแผงโซลาร์เซลล์ (DC) เป็นแนวนอน (AC) เพื่อให้สามารถใช้ได้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปในบ้านหรืออุตสาหกรรมได้ อย่างไรก็ตาม การแปลงไฟฟ้าด้วยอินเวอร์เตอร์จะมีการสูญเสียพลังงานไปบ้าง เนื่องจากอินเวอร์เตอร์ต้องใช้พลังงานในการทำงานและมีความไม่สม่ำเสมอในการแปลงไฟฟ้า ดังนั้น เลือกใช้อินเวอร์เตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงจะช่วยให้มีการสูญเสียพลังงานน้อยลง และผลิตพลังงานได้มากขึ้น ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการใช้งานแผงโซลาร์เซลล์อย่างมากยิ่งขึ้น


  • อุณหภูมิที่สูงขึ้นที่แผงโซลาร์เซลล์จะมีผลทำให้พลังงานลดลง คือ อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นจะมีผลต่อประสิทธิภาพของแผงโซลาร์เซลล์ โดยทั่วไปแล้ว เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น พลังงานที่แผงโซลาร์เซลล์สามารถสร้างได้จะลดลง โดยอุณหภูมิสูงขึ้นจะทำให้โมเลกุลของสารที่ใช้ในแผงโซลาร์เซลล์เคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียพลังงานและเกิดการไหลกระแสไฟฟ้าที่ไม่สม่ำเสมอ นอกจากนี้ อุณหภูมิสูงก็สามารถทำให้เกิดการชะลอการสร้างไฟฟ้าจากแผงโซลาร์เซลล์ได้ ซึ่งทั้งหมดนี้จะส่งผลต่อประสิทธิภาพของแผงโซลาร์เซลล์โดยลดลงจากปกติ ดังนั้นการควบคุมอุณหภูมิเป็นสิ่งสำคัญในการใช้งานแผงโซลาร์เซลล์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดโดยตลอดเวลา

ชนิดของอินเวอร์เตอร์ (Inverter)

หน้าที่ของอินเวอร์เตอร์ (inverter) คือแปลงไฟฟ้ากระแสตรง(DC) ที่มาจากแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) ให้เป็นไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) ซึ่งเป็นประเภทของไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเรือนทั่วๆ ไป โดยปกติแล้วอินเวอร์เตอร์ (inverter) ที่ใช้งานกับโซลาร์เซลล์ (solar cell) จะแบ่งเป็น 3 ประเภทหลักๆ ดังนี้

1. On-grid Inverter หรือ Grid-tie ออนกริดอินเวอร์เตอร์หรือ กริิด-ไท

อินเวอร์เตอร์ (inverter) ชนิดนี้มีไว้สำหรับเชื่อมต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าภายในบ้าน โดยต้องทำงานร่วมกับไฟฟ้าที่มาจากการไฟฟ้าเสมอ หรืออาจจะใช้เพื่อผลิตไฟฟ้าแล้วส่งไปขายให้กับการไฟฟ้าซึ่งคำว่า Grid นั้นจะหมายถึึง Power Grid คือ ระบบจ่ายไฟของทางการไฟฟ้า


นอกจากนี้้กรณีที่ไฟฟ้าดับหรือไฟตก ไฟเกินกว่าระดับที่ตั้งไว้อินเวอร์เตอร์ (inverter) แบบนี้จะต้องตัดไม่ให้มีการจ่ายไฟออกไปสู่ระบบสายส่งของทางการไฟฟ้า เพื่อไม่ให้มีไฟฟ้าไหลออกไปทำอันตรายต่อเจ้าหน้าที่ที่มาปฏิบััติงาน ของทางการไฟฟ้า

ประเภทของ On-grid Inverter จะมี 3 ประเภท ดังนี้

Central Inverter

อินเวอร์เตอร์ (inverter) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เพราะเครื่องอินเวอร์เตอร์ (inverter) สามารถรองรับ PV Panels ได้เป็นจำนวนมาก สามารถรองรับได้ทั้งโครงการ (ขนาดใหญ่) สามารถใช้อินเวอร์เตอร์ (inverter) เพียงเครื่องเดียวได้

ข้อดี

ข้อเสีย

ง่ายต่อการออกแบบเพราะมีตัวเดียว ยากต่อการขยายระบบในอนาคต
ราคาต่อวัตต์ถูกกว่าชนิดอื่น ถ้า inverter มีีปัญหาจะทำให้ผลิตไฟฟ้าไม่ได้ทั้งระบบ
มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก ทำให้หาพื้นที่ติดตั้งค่อนข้างยาก
String Inverter

อินเวอร์เตอร์ (inverter) ที่มีหลากหลายขนาดตามแต่การออกแบบซึ่งเหมาะกัับการติดตั้งแบบ Rooftop มากที่สุดในปัจจุบัน

ข้อดี

ข้อเสีย

ขนาดไม่ใหญ่เกินไป หาพื้นที่ติดตั้งง่าย ราคาต่อวัตต์สูงกว่าแบบ Central inverter
ให้กำลังผลิตโดยรวมดีกว่า การดูแลรักษามากกว่า เพราะบางโครงการอาจมีหลายตัว
ขยายระบบในอนาคตได้ง่าย
ถ้าเกิดความเสียหายใน inverter ตัวใดตัวหนึ่ง ตัวอื่นๆก็ยังทำงานได้อยู่
Micro Inverter

อินเวอร์เตอร์ (micro inverter) ที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยจะติดตั้ง 1 ตััวต่อ 1 แผงซึ่งก็จะทำให้ไฟฟ้าที่ออกจากแผงเป็นไฟฟ้ากระแสสลัับ(AC) นิยมเลือกใช้กับระบบที่มีกำลังการผลิิตไม่มาก

ข้อดี

ข้อเสีย

ง่ายต่อการออกแบบเพราะมีตัวเดียว ราคาต่อวัตต์สููง
มีความสูญเสียในระบบน้อยที่สุด การดู แลรักษามากกว่า เพราะต้องใช้จำนวนมาก (1ตััว ต่่อ 4 แผง)
ขยายระบบในอนาคตได้ง่าย
ไม่เปลืองสายไฟด้าน DC
อินเวอร์เตอร์ (inverter) ที่ใช้งานกับโซลาร์เซลล์ (solar cell) มี 3 ประเภท

1.ออนกริด อินเวอร์เตอร์ (On-grid Inverter)

อินเวอร์เตอร์ (inverter) ชนิดนี้มีไว้สำหรับเชื่อมต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าภายในบ้าน โดยต้องทำงานร่วมกับไฟฟ้าที่มาจากการไฟฟ้าเสมอ หรืออาจจะใช้เพื่อผลิตไฟฟ้าแล้วส่งไปขายให้กับการไฟฟ้าซึ่งคำว่า Grid นั้นจะหมายถึึง Power Grid คือ ระบบจ่ายไฟของทางการไฟฟ้า


นอกจากนี้้กรณีที่ไฟฟ้าดับหรือไฟตก ไฟเกินกว่าระดับที่ตั้งไว้อินเวอร์เตอร์ (inverter) แบบนี้จะต้องตัดไม่ให้มีการจ่ายไฟออกไปสู่ระบบสายส่งของทางการไฟฟ้า เพื่อไม่ให้มีไฟฟ้าไหลออกไปทำอันตรายต่อเจ้าหน้าที่ที่มาปฏิบััติงาน ของทางการไฟฟ้า


2.ออฟกริด อินเวอร์เตอร์ (Off-grid Inverter)

อินเวอร์เตอร์ (inverter) นี้จะได้รับไฟกระแสตรงมาจากแบตเตอรี่ (Battery) ไม่ควรนำโซลาร์เซลล์ (solar cell) มาต่อโดยตรง การใช้งานระบบนี้จะต้องนำแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) มาชาร์จพลังงานลงสู่แบตเตอรรี่ก่อน ซึ่งก็จะต้องมีวงจรการควบคุมการชาร์จแบตเตอรี่ (Charge Controller) ซึ่งก็อาจจะแตกต่างกันไปตามแบตเตอรี่ที่ใช้ด้วยแม้ว่าอินเวอร์เตอร์ (inverter) ชนิดนี้จะไม่ต้องเชื่อมต่อกับระบบจ่ายไฟของการไฟฟ้า จึงไม่ถูกควบคุมว่าต้องใช้ยีห้อที่การไฟฟ้าอนุมัติแต่ก็ควรใช้อุปกรณ์ที่มีมาตรฐาน เพื่อความปลอดภัย


3.ไฮบริด อินเวอร์เตอร์ (Hybrid Inverter)

ไฮบริดอินเวอร์เตอร์เป็นระบบระหว่าง On-grid และระบบ Off-grid Inverter เพราะสามารถใช้งานเพื่อประหยัดพลังงานได้ในตอนกลางวัน และยังสามารถสำรองไฟเอาไว้ใช้ในเวลากลางคืน สามารถมีไฟฟ้าจากระบบโซลาร์เซลล์ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

มาตรฐานรับรองผลิตภัณฑ์ระบบโซลาร์เซลล์ solar cell ✅

สินค้า solar cell โซลาร์เซลล์แบรนด์ดังระดับโลก ตอบโจทย์ทุกไลฟ์สไตล์ของผู้ใช้ ✅

แผงโซล่าเซลล์ Longi

  • แผงเซลลแสงอาทิตยประสิทธิภาพสูงสำหรับโรงไฟฟาสาธารณูปโภค
  • เทคโนโลยีเซลล HPDC ขั้นสูงปรับปรุงการผลิตไฟฟา ชวยมอบประสิทธิภาพ
    ที่ยอดเยี่ยมและความสามารถในการผลิตไฟฟาของแผงที่เหนือกวา
  • คา Bifaciality เซลลดานหลังแผงสูง พรอมคาสัมประสิทธิ์อุณหภูมิที่ดี
    เยี่ยม ทำใหไดกำลังผลิตที่สูงขึ้น
  • มั่นใจในประสิทธิภาพตลอดอายุการใชงานดวยกระบวนการผลิตที่ได
    มาตรฐานและการรับประกันของ LONGi lifecycle quality
  • เซลลชนิด N Type พรอมกับเทคโนโลยี HPDC เฉพาะของ LONGi

แผงโซล่าเซลล์ AE Solar

เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ แผงโซลาร์เชลล์Trinasolar (solar cell) กำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็นไฟฟ้ากระแสตรงและมีหน่วยเป็นวัตต์ (Watt) มีการนำแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) เชลล์แสงอาทิตย์ AE Solar หลายๆเซลล์มาต่อกันเป็นแถวหรือเป็นชุด (Solar Array)เพื่อให้ได้พลังงานไฟฟ้าใช้งานตามที่ต้องการ โดยการต่อกันแบบอนุกรม จะเพิ่มแรงดันไฟฟ้า และการต่อกันแบบขนาน จะเพิ่มพลังงานไฟฟ้า

แผงโซลาร์เซลล์ JA Solar

เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ แผงโซลาร์เซลล์ JA Solar (solar cell) ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็นไฟฟ้ากระแสตรง และมีหน่วยเป็นวัตต์ (Watt) มีการนำแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) เซลล์แสงอาทิตย์ JA Solar หลายๆ เซลล์มาต่อกันเป็นแถวหรือเป็นชุด (Solar Array) เพื่อให้ได้พลังงานไฟฟ้าใช้งานตามที่ต้องการ โดยการต่อกันแบบอนุกรม จะเพิ่มแรงดันไฟฟ้า และการต่อกันแบบขนาน จะเพิ่มพลังงานไฟฟ้า

แผงโซลาร์เซลล์ Trinasolar

เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ แผงโซลาร์เซลล์ Trinasolar (solar cell) ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็นไฟฟ้ากระแสตรง และมีหน่วยเป็นวัตต์ (Watt) มีการนำแผงโซลาร์เซลล์ (solar cell) เซลล์แสงอาทิตย์ Trinasolar หลายๆ เซลล์มาต่อกันเป็นแถวหรือเป็นชุด (Solar Array) เพื่อให้ได้พลังงานไฟฟ้าใช้งานตามที่ต้องการ โดยการต่อกันแบบอนุกรม จะเพิ่มแรงดันไฟฟ้า และการต่อกันแบบขนาน จะเพิ่มพลังงานไฟฟ้า

เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า Micro Inverter Hoymiles (micro inverter) (hoymiles)

ไมโครอินเวอร์เตอร์ (micro inverter) hoymiles เปลี่ยนพลังงานจากแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) ให้เป็นไฟฟ้าที่ใช้งานได้ไมโครอินเวอร์เตอร์(micro inverter)แบบเฟสเดียวมักใช้ในสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยและเชิงพาณิชย์ขนาดเล็กด้วย hoymiles รับประกันประสิทธิภาพการทำงานที่ยาวนานและปราศจากความยุ่งยากด้วยการติดตั้งง่าย คุณภาพระดับพรีเมียม และอัตราความล้มเหลวต่ำ

เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า Micro Inverter Enphase (micro inverter) (enphase)

ไมโครอินเวอร์เตอร์ (micro inverter) Enphase เป็นอุปกรณ์สำหรับเปลี่ยนพลังงานจากแผงโซลาร์เซลล์(solar cell) ให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง (AC) ที่ใช้งานได้ ไมโครอินเวอร์เตอร์ (micro inverter) แบบเฟสเดียวมักใช้ในสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยและเชิงพาณิชย์ขนาดเล็กด้วย Enphase รับประกันประสิทธิภาพการทำงานที่ยาวนานและปราศจากความยุ่งยากด้วยการติดตั้งง่าย คุณภาพระดับพรีเมียม และอัตราความล้มเหลวต่ำ

เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า Huawei (inverter)

อินเวอร์เตอร์ (inverter) HUAWEI ทำหน้าที่แปลงพลังงานไฟฟ้าจากกระแสตรง (DC) ให้เป็นพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ(AC)เพื่อให้สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสสลับ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ Sine Wave Inverter ใช้ได้กับอุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสสลับทุกชนิด และ Modified Sine Wave Inverter ใช้ได้กับอุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสสลับที่ไม่มีส่วนประกอบของมอเตอร์และหลอดฟลูออเรสเซนต์ที่เป็น Electronic ballast

เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า Solar Edge (inverter)

อินเวอร์เตอร์ (inverter) Solar Edge ทำหน้าที่แปลงพลังงานไฟฟ้าจากกระแสตรง (DC) ให้เป็นพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ(AC)เพื่อให้สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสสลับ แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ Sine Wave Inverter ใช้ได้กับอุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสสลับทุกชนิด และ Modified Sine Wave Inverter ใช้ได้กับอุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสสลับที่ไม่มีส่วนประกอบของมอเตอร์และหลอดฟลูออเรสเซนต์ที่เป็น Electronic ballast

POWER Optimizers

หากมีแผงโซลาร์เซลล์ (Solar Cell) ในระบบเดียวกันเกิดการชำรุดเสียหายหรือถูกบดบังจากแสงอาทิตย์ แผงโซลาร์เซลล์ (Solar Cell) ในระบบที่เหลืออยู่ก็ยังสามารถทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

ACCESSORIES

➡️ สาระน่ารู้ และข่าวสาร ✅